ตัวอย่าง การตั้งเกณฑ์โอกาสเกิด (Likelihood) และการตั้งเกณฑ์ผลกระทบ (Impact) ในการประเมินความเสี่ยง
 

1. เกณฑ์โอกาสเกิด (Likelihood)

     การตั้งเกณฑ์โอกาสเกิดในการประเมินความเสี่ยง แบ่งออกเป็น 2 กรณี คือ

     1.1 กรณีเคยเกิดขึ้น สามารถกำหนดได้ ดังนี้

โอกาสเกิด (Likelihood)
โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง ความถี่ที่เกิดขึ้น (เฉลี่ย) ระดับคะแนน
สูงมาก โอกาสเกิดทุกปี 5
สูง โอกาสเกิด 2 ปี/ครั้ง 4
ปานกลาง โอกาสเกิด 3 ปี/ครั้ง 3
น้อย โอกาสเกิด 4 ปี/ครั้ง 2
น้อยมาก โอกาสเกิด 5 ปี/ครั้ง 1
ไม่เกิด ไม่เกิด 0

 

   1.2 กรณีไม่เคยเกิดขึ้น สามารถกำหนดได้ ดังนี้

โอกาสเกิด (Likelihood)
โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง ความถี่ที่เกิดขึ้น (เฉลี่ย) ระดับคะแนน
สูงมาก มากกว่า 80 % 5
สูง 70-79 % 4
ปานกลาง 60-69 % 3
น้อย 50-59 % 2
น้อยมาก น้อยกว่า 50 % 1
ไม่เกิด ไม่เกิด 0

 

2. เกณฑ์ผลกระทบ (Impact)

     การตั้งเกณฑ์ผลกระทบในการประเมินความเสี่ยง สามารถกำหนดเป็นด้านต่างๆ ได้แก่ ด้านการเงิน ด้านเวลา ด้านชื่อเสียง ด้านลูกค้า ด้านความสำเร็จ ด้านบุคลากร เป็นต้น

     2.1 ด้านการเงิน

โอกาสเกิด (Likelihood)
โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง ความถี่ที่เกิดขึ้น (เฉลี่ย) ระดับคะแนน
สูงมาก มากกว่า 40 ล้านบาท 5
สูง 3 ล้านบาท – 40 ล้านบาท 4
ปานกลาง 5 แสนบาท – 3 ล้านบาท 3
น้อย 1 แสนบาท – 5 แสนบาท 2
น้อยมาก น้อยกว่า 1 แสนบาท 1
ไม่เกิด ไม่เกิด 0

 

    2.2 ด้านเวลา

โอกาสเกิด (Likelihood)
โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง ความถี่ที่เกิดขึ้น (เฉลี่ย) ระดับคะแนน
สูงมาก ทำให้เกิดความล่าช้าของโครงการมากกว่า 6 เดือน 5
สูง ทำให้เกิดความล่าช้าของโครงการมากกว่า 4.5 เดือน ถึง 6 เดือน 4
ปานกลาง ทำให้เกิดความล่าช้าของโครงการมากกว่า 3 เดือน ถึง 4.5 เดือน 3
น้อย ทำให้เกิดความล่าช้าของโครงการมากกว่า 1.5 เดือน ถึง 3 เดือน 2
น้อยมาก ทำให้เกิดความล่าช้าของโครงการไม่เกิน 1.5 เดือน 1
ไม่เกิด ไม่เกิด 0

 

    2.3 ด้านชื่อเสียง

โอกาสเกิด (Likelihood)
โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง ความถี่ที่เกิดขึ้น (เฉลี่ย) ระดับคะแนน
สูงมาก มีการเผยแพร่ข่าวจากสื่อภายในและต่างประเทศเป็นวงกว้าง 5
สูง มีการเผยแพร่ข่าวเป็นวงกว้างในประเทศและมีการเผยแพร่ข่าวอยู่วงจำกัดในประเทศ 4
ปานกลาง มีการลงข่าวในหนังสือพิมพ์ในประเทศกลายฉบับ 2-3 วัน 3
น้อย มีการลงข่าวหนังสือพิมพ์ในประเทศบางฉบับ 1 วัน 2
น้อยมาก ไม่มีการเผยแพร่ข่าว 1
ไม่เกิด ไม่เกิด 0

 

    2.4 ด้านลูกค้า

โอกาสเกิด (Likelihood)
โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง ความถี่ที่เกิดขึ้น (เฉลี่ย) ระดับคะแนน
สูงมาก ผู้ใช้บริการลดลงมากกว่า 50 คน ต่อเดือน 5
สูง ผู้ใช้บริการลดลงตั้งแต่ 40-50 คน ต่อเดือน 4
ปานกลาง ผู้ใช้บริการลดลงตั้งแต่ 30-39 คน ต่อเดือน 3
น้อย ผู้ใช้บริการลดลงตั้งแต่ 20-29 คน ต่อเดือน 2
น้อยมาก ผู้ใช้บริการลดลงไม่เกิน 19 คน ต่อเดือน 1
ไม่เกิด ไม่เกิด 0

 

    2.5 ด้านความสำเร็จ

โอกาสเกิด (Likelihood)
โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง ความถี่ที่เกิดขึ้น (เฉลี่ย) ระดับคะแนน
สูงมาก ดำเนินงานสำเร็จตามแผนได้น้อยกว่า 60 % 5
สูง ดำเนินงานสำเร็จตามแผนได้ 60-70 % 4
ปานกลาง ดำเนินงานสำเร็จตามแผนได้ 71-80 % 3
น้อย ดำเนินงานสำเร็จตามแผนได้ 81-90 % 2
น้อยมาก ดำเนินงานสำเร็จตามแผนได้ 91-99 % 1
ไม่เกิด ดำเนินงานสำเร็จตามแผนได้ 100 % 0

 

    2.6 ด้านบุคลากร

โอกาสเกิด (Likelihood)
โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง ความถี่ที่เกิดขึ้น (เฉลี่ย) ระดับคะแนน
สูงมาก มีบุคลากรเสียชีวิตมากกว่า 3 คน 5
สูง มีบุคลากรเสียชีวิตไม่เกิน 3 คน 4
ปานกลาง มีบุคลากรได้รับบาทเจ็บจนพิการแต่ไม่มีผู้เสียชีวิต 3
น้อย มีบุคลากรได้รับบาทเจ็บจนต้องรักษาตัวที่โรงพยาบาล 2
น้อยมาก มีบุคลากรได้รับบาดเจ็บเล็กน้อย 1
ไม่เกิด ไม่เกิด 0

 

ผู้เขียน เสกสรรค์ คงพึ่งทรัพย์

ตำแหน่ง นักวิชาการศึกษาชำนาญการ

 

 

 






98 ครั้ง

Address

กองนโยบายและแผน สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์พระนครศรีอยุธยา หันตรา เลขที่ 60 หมู่ 3 ถ.สายเอเซีย (กรุงเทพฯ - นครสวรรค์ ) ต.หันตรา อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา 13000 โทรศัพท์/โทรสาร : 035-709081

การให้บริการ
Follow Us

Copyright ©2020 กองนโยบายและแผน | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ